🎓
PST2025
  • คู่มือการใช้ PST2025
  • สำหรับผู้ลงทะเบียน
    • สมัครสมาชิก
      • สมาชิกสมาคม
      • สมาชิกทั่วไป
    • จัดการโปรไฟล์
      • ดู/แก้ไข โปรไฟล์
      • เปลี่ยนรหัสผ่าน
    • ลงทะเบียน
      • การลงทะเบียนแบบผู้เข้าร่วมงานทั่วไป (Non-presenter หรือ Participant)
      • การลงทะเบียนแบบนำเสนอผลงาน (Oral/Poster/Not presented Presentation)
    • การชำระเงิน
    • ติดตามสถานะ
    • การตอบกลับบทความ
      • บทความที่ส่งคืนกลับ
      • ส่งบทความฉบับแก้ไข
  • สำหรับหัวหน้ากลุ่ม
    • การมอบหมายบทความ
      • ตรวจสอบบทความเบื้องต้น
      • ตีกลับบทความ
      • มอบหมายบทความ(รอบแรก)
      • บทความที่โดนปฏิเสธ
      • บทความที่มอบหมายแล้ว
      • มอบหมายบทความ(รอบถัดไป)
    • การรวบรวมบทความ
      • บทความที่รอรวบรวม
      • บทความที่รวบรวมแล้ว
  • สำหรับผู้วิจารณ์
    • รับมอบหมายบทความ
    • การวิจารณ์บทความ
      • บทความที่รอการวิจารณ์(รอบแรก)
      • บทความที่รอการวิจารณ์(รอบถัดไป)
      • บทความที่วิจารณ์แล้ว
Powered by GitBook
On this page
  1. สำหรับผู้ลงทะเบียน
  2. การตอบกลับบทความ

บทความที่ส่งคืนกลับ

PreviousการตอบกลับบทความNextส่งบทความฉบับแก้ไข

Last updated 3 months ago

สำหรับผู้ส่งบทความที่บทความมีความไม่ถุกต้องและหัวหน้ากลุ่มได้ส่งคืนกลับ ผู้ส่งบทความสามารถดำเนินการส่งบทความใหม่ทำตามขั้นตอนต่อไปนี้:

  1. เข้าเมนูติดตามสถานะ ไปที่เมนู ติดตามสถานะ เพื่อดูสถานะของบทความที่ได้รับการพิจารณา

  1. เลือกบทความที่ถูกตีกลับ ที่สถานะบทความ ให้คลิกที่ ตีกลับบทความ เพื่อเข้าสู่กระบวนการแก้ไขตามคำแนะนำที่ได้รับ

  1. ดูรายละเอียดบทความที่ถูกส่งกลับ ระบบจะแสดงหน้า บทความที่ถูกส่งกลับ ซึ่งจะแสดงรายละเอียดต่าง ๆ ของบทความ รวมถึงไฟล์บทความที่เคยอัปโหลดและข้อเสนอแนะจากหัวหน้ากลุ่ม จากนั้นคลิก แก้ไข เพื่อเริ่มกระบวนการแก้ไขบทความ

  1. แก้ไขบทความตามคำแนะนำ ผู้ส่งบทความสามารถแก้ไขข้อมูลต่าง ๆ เช่น ชื่อบทความ แทร็ก บทคัดย่อ และอัปโหลดไฟล์บทความฉบับใหม่ตามข้อเสนอแนะ จากนั้นคลิก ต่อไป

  1. เพิ่มข้อมูลผู้แต่งร่วมเพิ่มเติม (ถ้ามี) ผู้ส่งบทความสามารถเพิ่มหรือแก้ไขข้อมูลผู้แต่งร่วมได้ในขั้นตอนนี้ จากนั้นคลิก ต่อไป

  1. ตรวจสอบความถูกต้องและลงทะเบียน ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่แก้ไขทั้งหมด และคลิก ลงทะเบียน เพื่อส่งบทความที่แก้ไขเข้าสู่กระบวนการพิจารณาใหม่